“Chula-Cov19” วัคซีน mRNA สัญชาติไทยขยับเข้าใกล้ความสำเร็จ
อื่นๆ
เปิดเบื้องหลังความสำเร็จบนเส้นทางแห่งการพัฒนาวัคซีนจุฬาฯ
Chula VRC ก่อตั้งขึ้นในปี 2560 มีความมุ่งมั่นที่จะสร้างความเสมอภาคทางด้านวัคซีนให้เกิดขึ้นได้จริง ซึ่งถือเป็นภารกิจในระดับนานาชาติ โดยมีพันธกิจในการวิจัย และพัฒนาวัคซีนที่มีประสิทธิภาพ และมีความปลอดภัย ในราคาที่สามารถเข้าถึงได้ โดยเฉพาะในงานด้านการป้องกันโรคติดเชื้อและโรคไม่ติดเชื้อชนิดต่าง ๆ
การวิเคราะห์ลายนิ้วมือน้ำมันดิบ ติดตามมลพิษ: วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมีทำงานเพื่อแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่กำลังเพิ่มขึ้น
ทุกๆ ปี ผู้คนที่อาศัยอยู่ใกล้ชายฝั่งหรือบริเวณป่าชายเลนในประเทศไทยจะพบคราบน้ำมันและก้อนน้ำมันบนชายฝั่ง ซึ่งเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิต และกระทบการท่องเที่ยว โดยในช่วงหลังๆ ปริมาณก้อนน้ำมันที่พบเห็นเพิ่มมากขึ้น แสดงให้เห็นถึงปัญหาที่เลวร้ายมากขึ้น
จุฬาฯ กับการพัฒนาที่ยั่งยืนครั้งใหญ่ ใน Chula Sustainability Fest 2022
ในปี 2022 ผลงานที่มีส่วนในการสร้างความยั่งยืนของจุฬาฯ จะไม่อยู่แค่ใน SDGs Report แต่ได้ออกมาสื่อสารในงาน Chula Sustainability Fest 2022 เมื่อวันที่ 2-4 กันยายน 2565 เพื่อสร้าง Commitment สื่อสารนโยบายการพัฒนาที่ยั่งยืนของจุฬาฯ Connect เชื่อมโยงประชาคมจุฬาฯ และ Inspired สร้างแรงบันดาลใจให้ช่วยกันผลักดันการพัฒนาที่ยั่งยืน
“Chula-Cov19” วัคซีน mRNA สัญชาติไทยขยับเข้าใกล้ความสำเร็จ
ของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในประเทศไทยตลอดช่วงสองปีที่ผ่านมาทำให้เราได้เห็นศักยภาพของ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ที่มีส่วนช่วยให้ประเทศไทยรับมือกับวิกฤติด้านสาธารณสุขระดับโลกนี้ได้ดี ทั้งความพร้อมด้านการบริหารจัดการสถานที่ แพทย์ พยาบาล และบุคลากรทางการแพทย์ ตลอดจนการนำทักษะ องค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมล้ำสมัย เข้ามาใช้ดูแลพี่น้องประชาชนตามมาตรฐานสากลและเฝ้าระวังการแพร่ระบาดตามมาตรการที่องค์การอนามัยโลกประกาศไว้